Unit2
印象的な自己紹介
การอัปเดทครั้งที่สองนี้เป็นงานที่ได้รับมอบหมายมาจากอาจารย์ที่แสนน่ารัก คือให้เขียน研究ของตัวเองสั้นๆให้คนอื่นที่ไม่รู้จักเราเข้าใจว่าเรากำลังทำวิจัยเกี่ยวกับอะไร ไม่ยาวมาก แต่สิ่งที่น่าสนใจกว่านั้นคืออาจารย์ให้ลองเอาไปโพสในเว็บที่ชื่อว่าLang-8 เพื่อให้คนญี่ปุ่นเจ้าของภาษาได้อ่านและแก้ไวยากรณ์ให้ด้วย ก่อนอื่นมาดูแบบเต็มๆและมีขอผิดเยอะแยะกันก่อน
私の研究のテーマは日本社会における喫煙者とその意識です。きっかけは自分の経験からです。日本では、エアコンの部屋やレストランなどの公共の場所での喫煙はよく見られます。そのことから、禁煙所、喫煙所にかかわらず、タバコを吸わない人がいる公共の場所は、喫煙者自身にとって自分の行為は迷惑をかけない行為であるかどうか知りたいです。しかも、遠慮のことを大切にしている日本人に対して、公共喫煙は実際に認められているかどうか、迷惑なことかどうかもっとも知りたいです。
และนี้คือผลลัพธ์หลังจากได้รับการแก้ไขจากคนญี่ปุ่นในLang-8 แต่มีมาแก้ให้คนเดียวแองเลยอาจจะเปรียบเทียบการใช้อะไรไม่ได้มาก เอาล่ะเรามาดูที่ละประโยคกันเลย
1.私の研究のテーマは日本社会における喫煙者とその意識です。
ประโยคแรกง่ายๆไม่มีอะไรผิด(แอบดีใจที่เค้าไม่แก้แสดงว่าเค้าเข้าใจสิ่งที่เราจะสื่อใช่มั้ยเพราะแค่หัวข้อยังดูงงๆ555)
2.きっかけは自分の経験からです。
แก้ それを研究テーマとしたきっかけは、自分の経験からです。
นับว่าเป็นการแก้ที่ทำให้ประโยคธรรมดาดูสวยหรูขึ้นมาพอควร เอาตามจริงแล้วถ้าตัวเองจะเขียนว่าจุดประกายการทำวิจัยเรื่องนี้คือ...ก็คงเขียนแค่ว่าこの研究をするきっかけはซึ่งดูธรรมดามากและอาจดูไม่เป็นสำนวนไทยๆด้วย
-สำหรับที่คนญี่ปุ่นแก้ให้ก็มีการเพิ่มそれเข้ามาคิดว่าเพื่อให้ดูมีความต่อเนื่องของเนื้อหา ไม่ใช่ประโยคใครประโยคมันห้วนๆ และใช้รูปとするเข้ามาช่วยคิดว่าเป็นวิธีการที่ทำให้การพูดดูดีขึ้น น่าจดจำเอาไปใช้
3.日本では、エアコンのある部屋やレストランなどの公共の場所での喫煙がよく見られます。
หากพูดถึงห้องแอร์เราจะใช้คำว่าอะไร ตอนแรกก็คิดอยู่ว่ามันมีคำเฉพาะหรืไม่แต่ก็หาไม่เจอ เลยใช้คำง่ายๆไปเลยว่าエアコンの部屋ซึ่งตอนที่ใช้ไปยังไม่ได้ตรวจเช็คให้ดี ปรากฏว่าคนญี่ปุ่นมาแก้ให้โดยเติมあるเข้าไปเป็นエアコンのある部屋=ห้องแอร์ จากการเสิร์ชแล้วก็พบว่าหากพูดถึงห้องแอร์แล้วคำนี้เป็นคำที่ใช้อย่างแพร่หลาย
-นอกจากนี้หลายคนคงรู้จักคำว่าエアコンをつけるที่แปลว่าติดแอร์ ก็น่าจะเกิดคำถามว่าแล้วเราจะใช้エアコンをつける部屋ได้หรือไม่ จากการเสิร์ชดูแล้วพบว่าส่วนใหญ่แล้วエアコンをつけるจะไม่ใช้คู่กับ部屋มักไม่ใช้ขยายคำนาม ที่เห็นว่าใช้ขยายคำนามก็จะมีแต่エアコンをつける場所 อย่างไรก็ตามก็ไม่ใช่วลีที่เห็นได้บ่อย
-ส่วนは...見られますถูกเปลี่ยคำช่วยเป็นが....見られますเท่าที่ดูเราจะไม่ใช้はกับรูปไวยากรณ์られるแต่จะใช้がเสมอ
4.そのことから、禁煙所、喫煙所にかかわらず、タバコを吸わない人がいる公共の場所は、喫煙者自身にとって自分の行為は迷惑をかけない行為であるかどうか知りたいです。
แก้ そのことから、禁煙の場所、喫煙所にかかわらず、タバコを吸わない人がいる公共の場所での喫煙者の行為は迷惑をかけない行為であるかどうかを知りたいのです。
ตามที่แก้มาคือ禁煙所เป็น禁煙の場所 จากการตรวจสอบดูพบว่ามีการใช้ทั้งสองคำ แต่ถึงแม้จะมีการใช้禁煙所 ในบทความเวลากดเสิร์ชคำจะไม่ขึ้นมาแม้ในดิกชันนารี่ก็ตามแสดงว่าปกติแล้วไม่มีคำศัพท์禁煙所 น่าแปลกที่ว่ามี喫煙所เป็นคำศัพท์เฉพาะแต่กลับไม่มี禁煙所 คิดว่าเป็นเรื่องที่น่าสนใจอยู่เหมือนกัน อย่างไรก็ตามหากจะพูดถึงพื้นที่ห้ามสูบก็ควรจะใช้禁煙の場所มากกว่า
印象的な自己紹介
การอัปเดทครั้งที่สองนี้เป็นงานที่ได้รับมอบหมายมาจากอาจารย์ที่แสนน่ารัก คือให้เขียน研究ของตัวเองสั้นๆให้คนอื่นที่ไม่รู้จักเราเข้าใจว่าเรากำลังทำวิจัยเกี่ยวกับอะไร ไม่ยาวมาก แต่สิ่งที่น่าสนใจกว่านั้นคืออาจารย์ให้ลองเอาไปโพสในเว็บที่ชื่อว่าLang-8 เพื่อให้คนญี่ปุ่นเจ้าของภาษาได้อ่านและแก้ไวยากรณ์ให้ด้วย ก่อนอื่นมาดูแบบเต็มๆและมีขอผิดเยอะแยะกันก่อน
私の研究のテーマは日本社会における喫煙者とその意識です。きっかけは自分の経験からです。日本では、エアコンの部屋やレストランなどの公共の場所での喫煙はよく見られます。そのことから、禁煙所、喫煙所にかかわらず、タバコを吸わない人がいる公共の場所は、喫煙者自身にとって自分の行為は迷惑をかけない行為であるかどうか知りたいです。しかも、遠慮のことを大切にしている日本人に対して、公共喫煙は実際に認められているかどうか、迷惑なことかどうかもっとも知りたいです。
และนี้คือผลลัพธ์หลังจากได้รับการแก้ไขจากคนญี่ปุ่นในLang-8 แต่มีมาแก้ให้คนเดียวแองเลยอาจจะเปรียบเทียบการใช้อะไรไม่ได้มาก เอาล่ะเรามาดูที่ละประโยคกันเลย
1.私の研究のテーマは日本社会における喫煙者とその意識です。
ประโยคแรกง่ายๆไม่มีอะไรผิด(แอบดีใจที่เค้าไม่แก้แสดงว่าเค้าเข้าใจสิ่งที่เราจะสื่อใช่มั้ยเพราะแค่หัวข้อยังดูงงๆ555)
2.きっかけは自分の経験からです。
แก้ それを研究テーマとしたきっかけは、自分の経験からです。
นับว่าเป็นการแก้ที่ทำให้ประโยคธรรมดาดูสวยหรูขึ้นมาพอควร เอาตามจริงแล้วถ้าตัวเองจะเขียนว่าจุดประกายการทำวิจัยเรื่องนี้คือ...ก็คงเขียนแค่ว่าこの研究をするきっかけはซึ่งดูธรรมดามากและอาจดูไม่เป็นสำนวนไทยๆด้วย
-สำหรับที่คนญี่ปุ่นแก้ให้ก็มีการเพิ่มそれเข้ามาคิดว่าเพื่อให้ดูมีความต่อเนื่องของเนื้อหา ไม่ใช่ประโยคใครประโยคมันห้วนๆ และใช้รูปとするเข้ามาช่วยคิดว่าเป็นวิธีการที่ทำให้การพูดดูดีขึ้น น่าจดจำเอาไปใช้
3.日本では、エアコンのある部屋やレストランなどの公共の場所での喫煙がよく見られます。
หากพูดถึงห้องแอร์เราจะใช้คำว่าอะไร ตอนแรกก็คิดอยู่ว่ามันมีคำเฉพาะหรืไม่แต่ก็หาไม่เจอ เลยใช้คำง่ายๆไปเลยว่าエアコンの部屋ซึ่งตอนที่ใช้ไปยังไม่ได้ตรวจเช็คให้ดี ปรากฏว่าคนญี่ปุ่นมาแก้ให้โดยเติมあるเข้าไปเป็นエアコンのある部屋=ห้องแอร์ จากการเสิร์ชแล้วก็พบว่าหากพูดถึงห้องแอร์แล้วคำนี้เป็นคำที่ใช้อย่างแพร่หลาย
-นอกจากนี้หลายคนคงรู้จักคำว่าエアコンをつけるที่แปลว่าติดแอร์ ก็น่าจะเกิดคำถามว่าแล้วเราจะใช้エアコンをつける部屋ได้หรือไม่ จากการเสิร์ชดูแล้วพบว่าส่วนใหญ่แล้วエアコンをつけるจะไม่ใช้คู่กับ部屋มักไม่ใช้ขยายคำนาม ที่เห็นว่าใช้ขยายคำนามก็จะมีแต่エアコンをつける場所 อย่างไรก็ตามก็ไม่ใช่วลีที่เห็นได้บ่อย
-ส่วนは...見られますถูกเปลี่ยคำช่วยเป็นが....見られますเท่าที่ดูเราจะไม่ใช้はกับรูปไวยากรณ์られるแต่จะใช้がเสมอ
4.そのことから、禁煙所、喫煙所にかかわらず、タバコを吸わない人がいる公共の場所は、喫煙者自身にとって自分の行為は迷惑をかけない行為であるかどうか知りたいです。
แก้ そのことから、禁煙の場所、喫煙所にかかわらず、タバコを吸わない人がいる公共の場所での喫煙者の行為は迷惑をかけない行為であるかどうかを知りたいのです。
ตามที่แก้มาคือ禁煙所เป็น禁煙の場所 จากการตรวจสอบดูพบว่ามีการใช้ทั้งสองคำ แต่ถึงแม้จะมีการใช้禁煙所 ในบทความเวลากดเสิร์ชคำจะไม่ขึ้นมาแม้ในดิกชันนารี่ก็ตามแสดงว่าปกติแล้วไม่มีคำศัพท์禁煙所 น่าแปลกที่ว่ามี喫煙所เป็นคำศัพท์เฉพาะแต่กลับไม่มี禁煙所 คิดว่าเป็นเรื่องที่น่าสนใจอยู่เหมือนกัน อย่างไรก็ตามหากจะพูดถึงพื้นที่ห้ามสูบก็ควรจะใช้禁煙の場所มากกว่า
นอกจากนี้ยังแก้จากเประโยคดิมที่เขียนว่าタバコを吸わない人がいる公共の場所は、喫煙者自身にとって自分の行為は迷惑をかけない行為であるかどうかซึ่งอาจจะดูงงๆเค้าก็ทำให้กลายเป็นกลุ่มคำนามที่ยาวขึ้นแบบนี้ คิดว่าเป็นกลุ่มคำนามที่ยาวมาก(คนญี่ปุ่นชอบคำนามจริงๆด้วย55) タバコを吸わない人がいる公共の場所での喫煙者の行為...โดยใช้でのเข้ามาแต่ก็ทำให้เข้าใจง่ายดีนะ เฟิร์นคงต้องเรียนรู้การใช้คำนามยาวๆแบบนี้มั่งแล้วคือแต่ก่อนไม่กล้าเพราะรู้สึกว่าのจะเยอะไปไหน55
สิ่งที่ลืมอีกอย่างคือเวลาอยากรู้ว่า...ใช่หรือไม่...かมักจะลืมคำช่วยを知りたい นอกจากนี้ยังแก้จาก知りたいですเป็น知りたいのです เติมのเข้ามาเพื่อเน้นย้ำความรู้สึอยากรู้อีก้วย
5. しかも、遠慮のことを大切にしている日本人に対して、公共喫煙は実際に認められているかどうか、迷惑なことかどうかもっとも知りたいです。
แก้ 人へ気配りを大切にする日本人の公共の場所での喫煙は実際に認められているかどうか、迷惑なことかどうかをもっとも知りたいのです。
จาก遠慮のことを大切にしているเป็น人へ気配りを大切にするใช้คำว่า気配りที่แปลว่าการใส่ใจเข้ามาแทน
แก้ 人へ気配りを大切にする日本人の公共の場所での喫煙は実際に認められているかどうか、迷惑なことかどうかをもっとも知りたいのです。
จาก遠慮のことを大切にしているเป็น人へ気配りを大切にするใช้คำว่า気配りที่แปลว่าการใส่ใจเข้ามาแทน
-และใช้のในการทำให้กลายเป็นกลุ่มคำนามที่ยาวขึ้นเหมือนเดิมส่วนที่เหลือก็เหมือนที่แก้จากข้อก่อนหน้า
สิ่งที่ได้เรียนรู้และควรปรับปรุงคือ
1. รู้จัการใช้คำเพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างประโยคให้มากขึ้นเช่นそれ
2. エアコンのある部屋=ห้องแอร์
3. การทำให้ประโยคกระชับขึ้นโดยการทำเป็นกลุ่มคำนามใช้のในการเชื่อม
4. คำกริยา知るต้องอย่าลืมคำช่วยを
5. เพื่อเน้นความรู้สึกลงท้ายประโยคด้วยのです.
6. สำนวน人へ気配り
วันนี้พอก่อนไปละบ๊ายบาย
ตรง 人へ気配りを大切にする เขาน่าจะแก้เป็น 人への มี の ด้วยหรือเปล่าคะ ลองดูอีกที
ตอบลบไม่มีอ่ะค่ะสงสัยจะตกหล่นมั้งคะ ขอบคุณมากค่ะอาจารย์
ลบ